สำนักวิปัสสนาปฏิบัติบูชาพระพุทธบาท ๔ รอย
สาขาวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร (หลวงปู่ทอง สิริมงฺคโล) จังหวัดเชียงใหม่
Vipassana Meditation Centre of Phra Buddhabat Siroi in Chiangmai Thailand
1. คุกเข่าในท่าเทพบุตรสำหรับชายและเทพธิดาสำหรับหญิง เก็บนิ้วและ วางมือไว้บนหน้าขา สติอยู่กับกายทั้งหมดกำหนดในใจว่า นั่งหนอ 3 ครั้ง
2. ให้สติจับอยู่ที่การเคลื่อนไหวของมือขวา พลิกมือตั้งขึ้น กำหนดในใจว่าพลิกหนอ 3 ครั้ง ยกมือขึ้นกำหนดขึ้นหนอ 3 ครั้ง มือจรดถูกกลางอกกำหนดถูกหนอ 3 ครั้ง (มือซ้ายทำเช่นกัน) จนมือประกบกันอยู่กลางอก
หัวใจของการปฏิบัติ คือการอยู่กับปัจจุบันต่อเนื่องและเชื่องช้า เมื่อกราบสติปัฏฐาน แล้วให้ลุกขึ้นแล้วเดินจงกรมโดยให้กำหนดรู้อาการเคลื่อนไหวขณะที่ลุกขึ้น อย่างช้าๆ แล้วเดินจงกรมต่อทันที ประโยชน์ของการเดินจงกรมกล่าวไว้มีอยู่ 5 ประการ 1.อดทนต่อการเดินทางไกล 2.อดทนต่อการทำงานหนัก 3.การย่อยอาหารเป็นไปได้ดี 4.สุขภาพดี ขับโรค ขับลม 5.สมาธิในการนั่งกรรมฐานหลังจากการเดินจงกรมจะตั้งมั่นได้นาน
1. คุกเข่าในท่าเทพบุตรสำหรับชายและเทพธิดาสำหรับหญิง เก็บนิ้วและ วางมือไว้บนหน้าขา สติอยู่กับกายทั้งหมดกำหนดในใจว่า นั่งหนอ 3 ครั้ง
1. สติอยู่กับอาการของกายที่กำลังลุกขึ้น กำหนดขึ้นหนอ 3 ครั้ง เมื่อกายยืนตั้งตรง มือวางบนหน้าขา แล้วกำหนดศีรษะตรวจดูคอไหล่และหลังที่ตั้งตรงตามธรรมชาติลงไปปลายเท้ากำหนดว่ายืนหนอ 3 ครั้ง จากปลายเท้าขึ้นไปบนศีรษะกำหนดว่ายืนหนอ 1 ครั้ง และจากศีรษะลงไปปลายเท้ากำหนดว่า ยืนหนอ 1 ครั้ง แล้วทอดสายตาลงบนพื้นห่างจากเท้า 2 – 3 เมตร
2. สติอยู่ที่มือซ้าย ยกขึ้นมาข้างหน้าเล็กน้อยกำหนดยกหนอ 1 ครั้งย้ายมือไปข้างหลัง กำหนดไปหนอ 1 ครั้ง วางมือลงบนสะโพกหลังด้านบนกำหนดถูกหนอ 1 ครั้ง (สติอยู่ที่มือขวาแล้วทำเช่นกัน) เมื่อมือขวาวางบนมือซ้ายให้มือซ้ายจับมือขวาไว้เบาๆ หรือ สติอยู่ที่มือซ้าย ยกขึ้นมาข้างหน้าเล็กน้อยกำหนดยกหนอ 1 ครั้ง ย้ายมือไปข้างหน้า กำหนดไปหนอ 1 ครั้ง วางมือลงบนหน้าท้อง กำหนดถูกหนอ 1 ครั้ง (สติอยู่ที่มือขวาแล้วทำเช่นเดียวกัน) เมื่อมือขวาวางบนหลังมือซ้ายแล้วจับมือซ้ายไว้เบาๆ 3. สติอยู่ที่เท้าขวา ยกเท้าขวาเลื่อนไปแล้วว
การเดินจงกรม 6 ระยะ ปรากฏดังภาพดังต่อไปนี้
1. สติอยู่กับอาการของกายที่กำลังลุกขึ้น กำหนดขึ้นหนอ 3 ครั้ง เมื่อกายยืนตั้งตรง มือวางบนหน้าขา แล้วกำหนดศีรษะตรวจดูคอไหล่และหลังที่ตั้งตรงตามธรรมชาติลงไปปลายเท้ากำหนดว่ายืนหนอ 3 ครั้ง จากปลายเท้าขึ้นไปบนศีรษะกำหนดว่ายืนหนอ 1 ครั้ง และจากศีรษะลงไปปลายเท้ากำหนดว่า ยืนหนอ 1 ครั้ง แล้วทอดสายตาลงบนพื้นห่างจากเท้า 2 – 3 เมตร
เมื่อเดินจงกรมครบกำหนดแล้วให้ต่อด้วยการนั่ง (หรือยืน นอน) กรรมฐานที่สัมพันธ์กับระยะที่เดินจงกรมต่อไปนี้เลยทันที
การยืน-เดิน-นั่ง-นอน (อิริยาบถใหญ่) การนั่งกรรมฐานกำหนดได้สติชัดเจนดีที่สุดการยืนกรรมฐานดีสำหรับผู้นั่งไม่ได้หรือง่วง แต่ก็ทำให้เมื่อยง่ายการนอนกรรมฐานดีสำหรับสำหรับผู้ปวดหลัง แต่กำหนดได้ยากและไม่ชัดเจน คู้-เงย-ก้ม-เหยียด (อิริยาบถย่อย) มีมากที่สุดในชีวิตประจำวันฝึกได้มากที่สุด การกราบสติปัฏฐานอยู่ในส่วนอิริยาบถย่อยนี้ การกำหนด ระวังอย่าให้มีตัวตนว่า “ฉันกำหนดอยู่” การปฏิบัติต้องทำให้ร่างกายสมดุลในอิริยาบถใหญ่ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน จึงให้เวลาเดินจงกรมเท่ากับการนั่งกรรมฐาน เช่น เดิน 30 นาที นั
เมื่อเดินจงกรมครบกำหนดแล้วให้ต่อด้วยการนั่ง (หรือยืน นอน) กรรมฐานที่สัมพันธ์กับระยะที่เดินจงกรมต่อไปนี้เลยทันที